ราชวงศ์จีน

กรณีสวรรคตพระนางซูอันไทเฮา: เงื่อนงำในคดีข้ามศตวรรษ

2023-09-26T11:11:21+07:00กันยายน 26th, 2023|

หากกล่าวถึงการว่าราชการหลังม่านในช่วงปลายราชวงศ์ชิง ผู้อ่านทั่วไปมักนึกถึงพระนางซูสีไทเฮา ทว่ายังมีขัตติยนารีอีกหนึ่งพระองค์ที่ว่าราชการเคียงบ่าเคียงไหล่พระนางซูสีไทเฮาเป็นระยะเวลาสองทศวรรษ นั่นคือสมเด็จพระพันปีหลวงฉืออัน หรือพระนางซูอันไทเฮา ฮองเฮาในจักรพรรดิเสียนเฟิงแม้เรื่องราวชีวิตของพระนางจะมิได้เป็นที่กล่าวขานของชนรุ่นหลังเฉกเช่นพระนางซูสีก็ตาม

ภูเขาหนิวโส่วซาน: พุทธสถานชื่อดังของประเทศจีน

2023-09-25T14:58:43+07:00กันยายน 25th, 2023|

ภูเขาหนิวโส่วซาน (牛首山) ตั้งอยู่ในเขตเจียงหนิง เป็นจุดชมวิวในเขตชานเมืองทางตอนใต้ของเมืองหนานจิง มีความสูง 248 เมตร เป็นพุทธสถานชื่อดังของประเทศจีน เรืองนามด้วยภูมิหลังทางวัฒนธรรมที่ลึกซึ้ง เป็นภูเขาที่แฝงด้วยกลิ่นอายโบราณอันเป็นเอกลักษณ์ของเมืองหนานจิง

ศาลขงจื่อแห่งนครหนานจิง

2023-09-25T14:33:11+07:00กันยายน 25th, 2023|

ศาลขงจื่อแห่งนครหนานจิง มีชื่อภาษาจีนว่า “หนานจิงฟูจื่อเมี่ยว” แปลว่า “ศาลฟูจื่อเมืองหนานจิง” เหตุที่ใช้ชื่อว่าศาลฟูจื่อ (夫子) เพราะคำว่า “ฟูจื่อ” เป็นคำที่บรรดาสานุศิษย์ใช้เรียกขานขงจื่อด้วยความเคารพนับถือ ศาลแห่งนี้ตั้งอยู่บริเวณเขตฉินหวย (秦淮区) นครหนานจิง ถือเป็นหนึ่งสถานที่สำคัญด้านวัฒนธรรมของเมืองหนานจิง

วัดมหากตัญญุตา: วัดพุทธแห่งแรกทางตอนใต้ของจีน

2023-09-25T10:56:09+07:00กันยายน 25th, 2023|

วัดต้าเป้าเอิน (大报恩寺 วัดมหากตัญญุตา) ตั้งอยู่นอกประตูจงหัว เขตฉินหวย นครหนานจิง เป็นวัดพุทธแห่งแรกและศูนย์กลางของพุทธศาสนาทางตอนใต้ของประเทศจีน ทว่าปัจจุบันกลับเหลือเพียงซากปรักหักพัง และเจดีย์ที่ถูกสร้างขึ้นใหม่ในสถานที่เดิมเพียงเท่านั้น

หลานไฉ่เหอ: ข้อถกเถียงว่าด้วยตัวตนและเพศสภาพของเซียนตะกร้าดอกไม้

2023-09-06T10:08:35+07:00กันยายน 6th, 2023|

หลานไฉ่เหอ (藍采和 สำเนียงแต้จิ๋วออกเสียงว่า “หน่าไฉฮั้ว”) เป็นนามของเซียนตนหนึ่งในคณะแปดเซียน (八仙 ปาเซียน หรือ โป๊ยเซียน) มีภาพลักษณ์เป็นเซียนวัยหนุ่ม1 ผูกผมสองจุก สวมเสื้อผ้าขาดกะรุ่งกะริ่ง ในมือถือตะกร้าดอกไม้ซึ่งเป็นสัญลักษณ์แทนการป้องกันและบรรเทาโรคภัย

ซูสีไทเฮาและเลดีคองเกอร์: มิตรภาพข้ามแดนระหว่างพระพันปีหลวงกับภริยาทูตอเมริกัน

2023-06-30T10:31:27+07:00มิถุนายน 30th, 2023|

พระฉายาลักษณ์หนึ่งที่น่าสนใจของสมเด็จพระพันปีหลวงฉือสี่ (慈禧太后 ค.ศ. 1835 - 1908) หรือพระนางซูสีไทเฮา ที่มีผู้ให้ความสนใจกันมากภาพหนึ่ง คือภาพที่ประทับนั่งและยื่นพระหัตถ์ให้สุภาพสตรีชาวตะวันตกผู้หนึ่งจับ ซึ่งแสดงออกถึงการ "เปิดรับ" ความเป็นตะวันตกของราชสำนักชิงในช่วงใกล้อวสาน นอกจากองค์ประกอบภาพที่น่าสนใจแล้ว บุคคลในภาพที่จับพระหัตถ์พระพันปีหลวงอย่างเลดีซาราห์ ไปค์ คองเกอร์ (Lady Sarah Jane Pike Conger ค.ศ. 1843 - 1932) ก็มีประวัติน่าสนใจ ในฐานะ "พระสหาย" ชาวตะวันตกของพระพันปีหลวงเช่นกัน

“จิงเคอ” นักฆ่าที่ประวัติศาสตร์จดจำ

2025-05-14T09:41:08+07:00สิงหาคม 11th, 2022|

แม้ว่าแผนลอบสังหาร จิ๋นซีฮ่องเต้ จะคว้าน้ำเหลว แต่ชื่อของ จิงเคอ (荊軻) หรือ ฉิ้งเคอ หนึ่งในมือสังหารยุคจีนโบราณก็ยังคงถูกกล่าวขานในหนังสือเรียนและตำราจีนหลายเล่ม เรียกได้ว่าเป็น ‘นักฆ่าผู้โด่งดังแห่งยุค’

เหตุใดชาวจีนจึงเรียกตนเองว่า “ลูกหลานของมังกร”?

2025-06-09T16:34:26+07:00พฤศจิกายน 22nd, 2021|

หลายคนเข้าใจว่ามังกรเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติจีน จึงเรียกประเทศจีนว่า ‘แผ่นดินมังกร’ หรือแม้แต่ชาวจีนเองก็เรียกตัวเองว่า ‘龙的传人’ ซึ่งหลายคนแปลว่า ‘ลูกหลานของมังกร’

ก่วนจ้ง: มหาเสนาบดีสีเทาผู้ยากจะนิยาม

2025-05-08T11:55:21+07:00กันยายน 24th, 2021|

หากพูดถึงบุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์จีนอย่างขงจื่อ (孔子) เหลาจื่อ (老子) เมิ่งจื่อ  (孟子) หรือแม้แต่สวินจื่อ (荀子) เชื่อว่าคนไทยหลายต่อหลายคนคงได้ยินผ่านหูมาบ้าง  แต่มีบุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์จีนอีกท่านหนึ่งที่ยังไม่ค่อยปรากฏสู่สายตาคนไทยและยังไม่ค่อยได้รับการพูดถึงเท่าใดนัก นั่นก็คือ ก่วนจ้ง (管仲) หรือก๋วนจื่อ  (管子)

ว่านกุ้ยเฟย รักแท้ต่างวัยของฮ่องเต้เซี่ยนจง

2025-04-01T17:14:45+07:00พฤษภาคม 10th, 2021|

ในสมัยโบราณการที่ผู้หญิงจะมีอิทธิพลเหนือผู้ชายนั้นแทบเป็นไปไม่ได้ หากแต่มีสตรีผู้หนึ่งซึ่งทรงอิทธิพลเหนือบุรุษผู้หนึ่ง และบุรุษผู้นั้นก็เป็นถึงฮ่องเต้แห่งราชวงศ์หมิง อิทธิพลที่ว่านี้หาใช่อำนาจบารมี หาใช่ทรัพย์สินไม่ แต่เป็นความรักซึ่งฮ่องเต้พระองค์นี้มีให้แก่สตรีผู้นี้ซึ่งนางใดจะแทนที่ได้ นามของเธอคือ ว่านเจินเอ๋อร์

Go to Top