วัฒนธรรมจีน

ถอดรหัสความหมายมงคลชื่ออาหารจีน

2023-06-13T15:56:22+07:00มิถุนายน 13th, 2023|

“ราษฎรดำรงอยู่ได้ด้วยอาหาร”(民以食為天) อัญพจน์ข้างต้นเป็นวาทะอันโด่งดังในหนังสือ “บันทึกประวัติศาสตร์” (史記) ซึ่งเรียบเรียงโดย ซือหม่าเชียน (司馬遷 ราว 145 หรือ 135 – 86 ปีก่อน ค.ศ.) ในยุคราชวงศ์ฮั่น (漢) ข้อความดังกล่าวสะท้อนคตินิยมของสังคมจีนว่า "อาหารการกินเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งสำหรับผู้คน"

ก่วนจ้ง: มหาเสนาบดีสีเทาผู้ยากจะนิยาม

2025-05-08T11:55:21+07:00กันยายน 24th, 2021|

หากพูดถึงบุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์จีนอย่างขงจื่อ (孔子) เหลาจื่อ (老子) เมิ่งจื่อ  (孟子) หรือแม้แต่สวินจื่อ (荀子) เชื่อว่าคนไทยหลายต่อหลายคนคงได้ยินผ่านหูมาบ้าง  แต่มีบุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์จีนอีกท่านหนึ่งที่ยังไม่ค่อยปรากฏสู่สายตาคนไทยและยังไม่ค่อยได้รับการพูดถึงเท่าใดนัก นั่นก็คือ ก่วนจ้ง (管仲) หรือก๋วนจื่อ  (管子)

การพิสูจน์สาวพรหมจารีของจีนในสมัยโบราณ

2025-03-25T14:11:45+07:00ธันวาคม 17th, 2020|

ในประเทศจีนมีการพิสูจน์สาวพรหมจารีด้วยวิธีการอันหลากหลาย ส่วนใหญ่เพื่อถวายตัวสาวพรหมจารีแด่จักรพรรดิ แต่เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไป ความเชื่อที่เคยฝังหัวก็ค่อยๆ จางลง มีบันทึกว่ามีการพิสูจน์สาวพรหมจารีตั้งแต่สมัยราชวงศ์ฮั่น

จักรพรรดิคังซีกับ 5 กุศโลบายในการพัฒนาชาติจีน

2025-03-25T09:42:21+07:00ตุลาคม 7th, 2020|

จักรพรรดิคังซี (康熙 ค.ศ1654-1722) เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์ชิง (清 ค.ศ 1636 – ค.ศ 1912) เป็นโอรสของจักรพรรดิซุ่นจื้อ (順治 ค.ศ 1638-1661) ขึ้นครองราชย์เมื่อมีพระชนมายุเพียง 8 พรรษา หลังจากพระราชบิดาสวรรคตแล้ว พระองค์ก็อยู่ในความอุปถัมภ์ของพระอัยยิกา (ย่า) จักรพรรดิ 

คุณค่าของหยกในวัฒนธรรมจีน

2025-04-02T17:28:10+07:00กันยายน 18th, 2020|

‘หยก’ เป็นรัตนชาติที่อยู่คู่วัฒนธรรมจีนมาอย่างยาวนาน นับแต่โบราณมาชาวจีนก็มีความเชื่อความศรัทธาในหยกและยกย่องให้หยกเป็นสัญลักษณ์แห่งความสิริมงคลเจริญรุ่งเรือง ซึ่งจะนำความโชคดีมาสู่ผู้ครอบครอง

เมืองหลวงสำรองในประวัติศาสตร์จีน

2025-04-02T14:27:27+07:00สิงหาคม 28th, 2020|

การก่อตั้งเมืองหลวงสำรองมีมาตั้งแต่สมัยราชวงศ์โจวตะวันตก (西周) หรือเมื่อ 1,046 ปีก่อนคริสต์ศักราช  ขณะนั้น ราชธานีของราชวงศ์โจวตะวันตก คือ นครเฮ่าจิน

ของแทนใจจากสตรีในยุคโบราณ (古代女子信物)

2025-04-02T15:57:43+07:00สิงหาคม 14th, 2020|

เมื่อหนทางที่ห่างไกลทำให้คนสองคนไม่อาจพบหน้ากันได้ ของแทนใจจึงเป็นเหมือนสายใยแห่งความรักความคิดถึงที่เชื่อมสองใจไว้ด้วยกัน ยามต้องไกลห่างจากบุรุษอันเป็นที่รัก สตรีในยุคโบราณจะมอบของรักของหวงหรือของที่ติดตัวเป็นประจำให้ฝ่ายชายดูต่างหน้ายามคิดถึง

จี้กง : เทพเจ้าหลุดโลก

2020-06-18T17:06:06+07:00มิถุนายน 18th, 2020|

หากเอ่ยถึง ‘จี้กง’ หลายคนจะนึกถึงภาพพระภิกษุครองจีวรแบบมหายานขาดปุปะ สวมรองเท้าสานเก่าๆ หมวกผ้าขาดๆ ถือพัดที่สานจากไม้ไผ่ ปรากฏตัวในละครโทรทัศน์ที่มีเนื้อหาสนุกสนานแต่แฝงด้วยคติธรรมสอนใจ สำหรับผู้ที่นับถือศาสนาพุทธนิกายมหายานยกย่องให้จี้กงเป็นพระอรหันต์

เทพเจ้าแห่งโชคลาภ

2025-04-03T16:08:31+07:00พฤษภาคม 26th, 2020|

เทพเจ้าแห่งโชคลาภ หรือที่คนไทยรู้จักกันในนามไฉ่สิ่งเอี๊ย (财神爷) เป็นหนึ่งในเทพเจ้าที่ชาวจีนกราบไหว้บูชามาแต่โบราณกาล เชื่อกันว่ามีอิทธิฤทธิ์ช่วยดลบันดาลเงินทอง

โพยก๊วน : มรดกทางวัฒนธรรมที่หลงเหลือในความทรงจำ

2025-04-01T14:40:39+07:00พฤษภาคม 10th, 2020|

ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 หรือระหว่างยุคกลางถึงปลายราชวงศ์ชิง ชาวจีนจำนวนมหาศาลหอบเสื่อผืนหมอนใบ จำใจจากบ้านเกิดไปแสวงหาลู่ทางทำมาหากินในต่างประเทศเพื่อส่งเงินกลับมาจุนเจือครอบครัวที่อดอยากแร้นแค้น ชาวจีนอพยพเหล่านี้ส่วนใหญ่ไร้ซึ่งทุนทรัพย์

Go to Top