ศัพท์จีนนอกตำรา — รักสามเส้า
คำศัพท์จีน ยิ่งเรียน ยิ่งยาก ยิ่งเยอะ อีกทั้งยังมีคำศัพท์ใหม่เกิดขึ้นอีกมากมาย แม้แต่ในโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัยก็ไม่สามารถสอนให้รู้คำศัพท์ได้หมด ดังนั้นอาศรมสยาม-จีนวิทยาจึงได้รวบรวมคำศัพท์นอกตำรา มาให้อ่านกัน
คำศัพท์จีน ยิ่งเรียน ยิ่งยาก ยิ่งเยอะ อีกทั้งยังมีคำศัพท์ใหม่เกิดขึ้นอีกมากมาย แม้แต่ในโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัยก็ไม่สามารถสอนให้รู้คำศัพท์ได้หมด ดังนั้นอาศรมสยาม-จีนวิทยาจึงได้รวบรวมคำศัพท์นอกตำรา มาให้อ่านกัน
คำศัพท์จีน ยิ่งเรียน ยิ่งยาก ยิ่งเยอะ อีกทั้งยังมีคำศัพท์ใหม่เกิดขึ้นอีกมากมาย แม้แต่ในโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัยก็ไม่สามารถสอนให้รู้คำศัพท์ได้หมด ดังนั้นอาศรมสยาม-จีนวิทยาจึงได้รวบรวมคำศัพท์นอกตำรา มาให้อ่านกัน
คำศัพท์จีน ยิ่งเรียน ยิ่งยาก ยิ่งเยอะ อีกทั้งยังมีคำศัพท์ใหม่เกิดขึ้นอีกมากมาย แม้แต่ในโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัยก็ไม่สามารถสอนให้รู้คำศัพท์ได้หมด ดังนั้นอาศรมสยาม-จีนวิทยาจึงได้รวบรวมคำศัพท์นอกตำรา มาให้อ่านกัน
แม้คนจีนจะมีความเชื่อเรื่องสิ่งลี้ลับเป็นข้อห้ามอยู่มาก แต่ก็มีทางแก้ไข ไม่ใช่เชื่องมงายจนถ่วงชีวิตตนเอง ความเชื่อบางเรื่องเป็นกุศโลบายฝึกวินัยในโอกาสอันควร เช่น วันแรกของปีใหม่จีน (1 ค่ำเดือนอ้ายจีน) ที่คนไทยนิยมเรียกว่า วันถือ นั้น ห้ามพูดคำหยาบ ห้ามทะเลาะเบาะแว้ง ห้ามทำของแตกหัก ก็เพื่อฝึกความสำรวมระวัง เป็นการเริ่มต้นที่ดีในปีใหม่
รวบรวมคำศัพท์น่ารู้และใช้ได้จริงเกี่ยวกับหมวดวัคซีน โควิด 19 รับรองว่ามีประโยชน์แน่นอนค่ะ !
มหาพจนานุกรมจีน (汉语大词典) ซึ่งเป็นพจนานุกรมฉบับใหญ่และมาตรฐานที่สุดของจีนในปัจจุบันก็เก็บความหมายของคำว่า ชง เชิงความเชื่อทางโหราศาสตร์ไว้ในคำว่า 冲犯 คือ ล่วงเกิน ขัดแย้ง ถ้าอะไร “ชง” กันจึงไม่ควรเกี่ยวข้องกันเพราะจะขัดแย้ง ล่วงเกินกัน ทำให้เกิดผลร้ายตามมานั่นเอง แต่ดังกล่าวแล้วว่าตามหลักปรัชญายินหยาง “ชง” หรือการขัดข่มกันเป็นของคู่กับการเกื้อกูลให้กำเนิด ดำเนินควบคู่กันไปตามสมดุลของธรรมชาตินั่นเอง เป็นปกติวิสัยของธรรมชาติ มิได้เลวร้ายจนน่าสะพรึงกลัว ควรเข้าใจและปฏิบัติให้ถูกต้องเหมาะสมเท่านั้น
เคยสังเกตไหมว่า คำศัพท์ภาษาจีนบางคำที่เราใช้บ่อยๆ มักจะสร้างความสับสนให้แก่ผู้เรียนอยู่เสมอ ดังนั้นทางอาศรมสยาม-จีนวิทยาได้นำเสนอภาษาจีนที่คนไทยใช้สับสนค่ะ
ชาวจีนมักดีอกดีใจเป็นพิเศษในช่วงวันส่งท้ายปีเก่า (คืนก่อนตรุษจีน) บนบานประตูของแต่ละบ้านจะมีตัวอักษร ‘福’ (ความสุข) ติดอยู่ ความเป็นมาของประเพณีนิยมเหล่านี้มีที่มาอย่างไร?
เคยสังเกตไหมว่า คำศัพท์ภาษาจีนบางคำที่เราใช้บ่อยๆ มักจะสร้างความสับสนให้แก่ผู้เรียนอยู่เสมอ ดังนั้นทางอาศรมสยาม-จีนวิทยาได้นำเสนอภาษาจีนที่คนไทยใช้สับสนค่ะ
เคยสังเกตไหมว่า คำศัพท์ภาษาจีนบางคำที่เราใช้บ่อยๆ มักจะสร้างความสับสนให้แก่ผู้เรียนอยู่เสมอ ดังนั้นทางอาศรมสยาม-จีนวิทยาได้นำเสนอภาษาจีนที่คนไทยใช้สับสนค่ะ