… 到家了 …สุดๆ/…ถึงที่สุดแล้ว / 戳脊梁骨 (ชี้นิ้ว) ด่าลับหลัง / ด่าว่านินทา / 钻空子 ฉวยโอกาส/อาศัยช่องโหว่ (จ้องหาผลประโยชน์จากช่องโหว่) / …一股脑儿… …ทีเดียวจนหมด…/…พรวดเดียวจนหมด… / …一口气… …รวดเดียว… /…ในรวดเดียว… / …โดยไม่หยุด…
… 到家了 ...สุดๆ/...ถึงที่สุดแล้ว / 戳脊梁骨 (ชี้นิ้ว) ด่าลับหลัง / ด่าว่านินทา / 钻空子 ฉวยโอกาส/อาศัยช่องโหว่ (จ้องหาผลประโยชน์จากช่องโหว่) / ...一股脑儿... ...ทีเดียวจนหมด.../…พรวดเดียวจนหมด... / …一口气… …รวดเดียว... /…ในรวดเดียว… / …โดยไม่หยุด…
เอ็งกอ: จากศิลปะพื้นบ้านจีนสู่วิถีชุมชนไทย
เอ็งกอ (英歌) ในภาษาจีนกลางออกเสียงว่า “อิงเกอ” (Yīng gē) คือศิลปะการแสดงพื้นบ้านแบบผสมผสาน ซึ่งเป็นที่นิยมในพื้นที่แถบชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของจีน โดยเฉพาะอย่างยิ่งพื้นที่เตี่ยซัว (潮汕) และบางพื้นที่ของมณฑลฮกเกี้ยน (福建 ฝูเจี้ยน) ในวันสำคัญต่างๆ ของทุกปี เช่น เทศกาลตรุษจีน (春節) เทศกาลหยวนเซียว (元宵節) ฯลฯ จะมีการจัดกระบวนแห่อันน่าตื่นตาตื่นใจเพื่อให้เกิดความสนุกสนานตลอดมา
吃香的喝辣的 กินดีอยู่ดี (มีชีวิตที่ดี) / (มีชีวิตที่) สมบูรณ์พูนสุข / 不怕一 万, 只 怕万一 ไม่กลัวสิ่งที่อยู่ในความคาดหมาย แต่กลัวสิ่งที่อยู่เหนือความคาดหมาย / 倾国倾城 (รูปร่างหน้าตาสวยงามขนาด, ถึงขั้น) ล่มชาติล่มเมือง, สวยเลิศเลอ / …无形中… …โดยไม่รู้ตัว / …โดยปริยาย /
吃香的喝辣的 กินดีอยู่ดี (มีชีวิตที่ดี) / (มีชีวิตที่) สมบูรณ์พูนสุข / 不怕一 万, 只 怕万一 ไม่กลัวสิ่งที่อยู่ในความคาดหมาย แต่กลัวสิ่งที่อยู่เหนือความคาดหมาย / 倾国倾城 (รูปร่างหน้าตาสวยงามขนาด, ถึงขั้น) ล่มชาติล่มเมือง, สวยเลิศเลอ / …无形中… …โดยไม่รู้ตัว / …โดยปริยาย /
หลากหลายความหมายของคำว่า ‘เทียน’ (天)
สืบเนื่องจากจดหมายข่าวอาศรมสยาม-จีนวิทยา ฉบับประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ลำดับที่ 250 (เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2566) ได้นำเสนอบทความเรื่อง ‘ถอดรหัสความหมายมงคลชื่ออาหารจีน’ เนื้อหาตอนต้นของบทความมีการอ้างถึงสำนวนจีน ‘民以食为天’ ซึ่งแปลเป็นภาษาไทยไว้ว่า ราษฎรถือว่าปากท้องสำคัญเทียมฟ้า ในเวลาต่อมา อาจารย์ถาวร สิกขโกศล ผู้เชี่ยวชาญด้านจีนศึกษาได้กรุณาให้คำแนะนำเกี่ยวกับสำนวนจีนดังกล่าวว่า หมายถึง 'ราษฎรดำรงอยู่ได้ด้วยอาหาร' เพราะอักษร 天 tiān (เทียน) มีหลายความหมาย มิได้แปลว่า ‘ฟ้า’ เพียงอย่างเดียว
เคอจี่ว์: การสอบคัดเลือกข้าราชการในจีนสมัยโบราณ (2)
ปัจจุบัน แม้ “ระบบการสอบคัดเลือกข้าราชการแบบเคอจี่ว์” จะถูกยกเลิกมากว่า 100 ปีแล้ว แต่ระบบการสอบซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในองคาพยพของสังคมจีนสมัยโบราณนี้ก็ยังคงมีอิทธิพลและส่งผลกระทบต่อสังคมอย่างกว้างขวาง จนกลายเป็นกรณีศึกษาในวงวิชาการ นักวิชาการบางกลุ่มมองว่า การสอบเข้ารับราชการแบบเคอจี่ว์ เป็นต้นแบบของระบบการคัดเลือกบุคคลที่ใช้กันในปัจจุบัน
วิเคราะห์การใช้คำอวยพรปีมังกร
ในคติความเชื่อของจีน ‘มังกร’ (龙 lóng) เป็นสัตว์วิเศษที่แปลงร่างได้ บินขึ้นฟ้าได้ มุดลงดินหรือดำน้ำลึกได้ สามารถปรับตัวได้ในหลายสถานการณ์ มีอิทธิฤทธิ์เกี่ยวข้องกับฟ้าฝนน้ำและไฟ รวมถึงเป็นสัญลักษณ์ศักดิ์สิทธิ์แทนอำนาจจักรพรรดิ ความสูงส่ง และเกียรติยศในวัฒนธรรมจีน นอกจากนี้ ศาสตร์ฮวงจุ้ยยังกำหนดให้ มังกรคราม (青龙 qīng lóng) เป็นสัตว์ประจำทิศตะวันออก มีสถานะเทียบเท่าเทพเจ้าในลัทธิเต๋า สามารถปัดเป่าความชั่วร้ายและพลังลบต่างๆ พร้อมนำมาซึ่งความเจริญรุ่งเรือง อายุยืนยาว โชคลาภวาสนาได้อีกด้วย
Social Network