Blog

Description is here. Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit.

Blog2019-03-12T15:33:47+07:00

บาบ๋า ย่าหยา วัฒนธรรมลูกผสม

By |กุมภาพันธ์ 19th, 2021|

คำว่า ‘เปอรานากัน’ (Peranakan) เป็นคำมลายู แปลว่า ‘ถือกำเนิดที่นี่’ ใช้เรียกสายเลือดลูกผสมที่ถือกำเนิดในดินแดนแถบแหลมมลายู แท้จริงแล้วคำว่า ‘เปอรานากัน’ มีความหมายรวมถึง คนที่มีเชื้อสายลูกผสมระหว่างชาวต่างชาติและชาวพื้นเมืองมลายู เช่น ชาวอาหรับเปอรานากัน ชาวดัตช์เปอรานากัน

เรจินัลด์ จอห์นสตัน พระอาจารย์ฝรั่งของจักรพรรดิจีนองค์สุดท้าย

By |กุมภาพันธ์ 10th, 2021|

‘เรจินัลด์ เฟลมิง จอห์นสตัน’ (Reginald Fleming Johnston / 莊士敦 ค.ศ. 1874-1938) เป็นพระอาจารย์ชาวตะวันตกของจักรพรรดิปูยี (溥儀 ค.ศ. 1906-1967) หรือจักรพรรดิเซวียนถ่ง (宣統) จักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ชิง (清 ค.ศ. 1636-1912) และเป็นจักรพรรดิองค์สุดท้ายของประเทศจีน จอห์นสตันเป็นชาวสก็อตแลนด์ เกิดเมื่อ ค.ศ. 1874 สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเอดินบะระและมหาวิทยาลัยอ็อกซฟอร์ด

การค้นพบและขั้นตอนการสร้างหุ่นทหารดินเผาจักรพรรดิจิ๋นซี

By |มกราคม 22nd, 2021|

พิพิธภัณฑสถานสุสานทหารดินเผาแห่งจักรพรรดิจิ๋นซี (秦始皇兵馬俑博物館) ถูกสร้างขึ้นในบริเวณที่มีการค้นพบสุสานทหารดินเผาและเปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 1979  ลักษณะสุสานเป็นต้นแบบของสุสานจักรพรรดิในสมัยโบราณที่ใช้การสร้างหุ่นดินเผาแทนการฝังคนทั้งเป็นเพื่อไปเป็นข้ารับใช้จักรพรรดิในภพหน้า เช่น ทหารม้า ทหารราบ

ห้องพระเครื่องต้นในสมัยราชวงศ์ชิง

By |มกราคม 14th, 2021|

พระกระยาหารของจักรพรรดิแต่ละมื้อนั้นห้องพระเครื่องต้นเตรียมไว้ 4 โต๊ะ แต่ละโต๊ะมีอาหารกว่า 20 ชนิด รวมแล้วไม่น้อยกว่า 100 ชนิด ส่วนพระกระยาหารของฮองเฮาและเหล่านางสนมแต่ละมื้อมีประมาณ 40 ชนิด นอกจากนี้ยังมีโจ๊ก ขนมอบ อาหารประเภทหมี่ และเครื่องเคียง (คือเครื่องจิ้ม เครื่องแนม) ต่างๆ

ผู้เฒ่าจันทรา เทพพ่อสื่อในตำนานจีน

By |ธันวาคม 28th, 2020|

คำว่า ‘ผู้เฒ่าจันทรา’ ภาษาจีนเรียกว่า ‘เย่ว์เซี่ยเหล่าเหริน’ หรือเรียกสั้นๆ ว่า ‘เย่ว์เหล่า’ (月老) ว่ากันว่าเทพพ่อสื่อองค์นี้เป็นชายชรา ถือเชือกวิเศษสีแดงกับสมุดบันทึกเป็นของประจำตัว ชาวจีนเชื่อว่าหากผู้เฒ่าจันทราผูกปลายเชือกแดง...

ภาษาจีนที่คนไทยใช้สับสน 片 piàn & 张 zhāng

By |ธันวาคม 23rd, 2020|

เคยสังเกตไหมว่า คำศัพท์ภาษาจีนบางคำที่เราใช้บ่อยๆ มักจะสร้างความสับสนให้แก่ผู้เรียนอยู่เสมอ ดังนั้นทางอาศรมสยาม-จีนวิทยาได้นำเสนอภาษาจีนที่คนไทยใช้สับสนค่ะ

VIEW OUR
LATEST
RECIPES

เรื่องล่าสุด

Go to Top