เว่ยเจิงยอดนักค้าน คู่รักคู่แค้นพระเจ้าถังไท่จง
เว่ยเจิง (魏徵 ค.ศ. 580-643) เสียงจีนแต้จิ๋วว่า งุยเต็ง เป็นยอดนักค้านคู่รักคู่แค้นของพระเจ้าถังไท่จง (唐太宗 พ.ศ. 1142-1192) เติบโตในยุคจลาจลช่วงปลายราชวงศ์สุย (隋 ค.ศ. 581-618) ต้องเปลี่ยนนายหลายครั้งตามสภาพการเมืองแล้วได้เป็นคนสนิทของหลี่เจี้ยนเฉิง (李建成) รัชทายาทผู้เป็นพี่ร่วมมารดากับหลี่ซื่อหมิน (李世民 ภายหลังเป็นพระเจ้าถังไท่จง)
จิ๋นซีฮ่องเต้และบุคคลสำคัญที่เกี่ยวข้อง
ฉินสื่อหวง (秦始皇 259-210 ปีก่อนคริสต์ศักราช) หรือที่คนไทยรู้จักกันดีในนาม ‘จิ๋นซีอ๋อง’ หรือ ‘จิ๋นซีฮ่องเต้’ ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์ฉิน (秦 221-206 ปีก่อนคริสต์ศักราช) มีพระนามเดิมว่า อิ๋งเจิ้ง (嬴政) ทรงขึ้นครองราชย์เป็นเจ้าผู้ครองรัฐฉิน โดยสืบราชบัลลังก์ต่อจากพระบิดาด้วยวัยเพียง 13 ชันษา
ต้าอวี่ มหาบุรุษผู้ขจัดปัญหาอุทกภัย
ช่วงเวลาที่อวี่รับหน้าที่ขจัดปัญหาอุทกภัย อวี่มีโอกาสผ่านหน้าบ้านของตนเองถึง 3 ครั้ง แต่ก็ไม่เคยก้าวเข้าบ้านไปเยี่ยมภรรยาเลยแม้แต่ครั้งเดียว โดยครั้งแรก ภรรยาเขาคลอดบุตรชาย ใครๆ ต่างบอกให้เขากลับเข้าบ้านดูหน้าบุตรชายสักหน่อย แต่เขาคิดว่างานแก้ไขปัญหาอุทกภัยเป็นภาระอันเร่งด่วน สำคัญกว่าเรื่องครอบครัวของตนเองนัก จึงตัดใจขี่ม้าหันหลังกลับไปยังที่พักโดยเร็ว ส่วน 2 ครั้งหลังเป็นช่วงที่บุตรชายโตขึ้นเป็นเด็กน้อยน่ารัก แต่เขาก็ยังไม่ยอมกลับเข้าบ้านไปเยี่ยมบุตรชายและภรรยาอยู่ดี
พูดจีนให้ได้ดั่งใจ — อคติ
เคยสังเกตไหมว่า คำศัพท์ภาษาจีนบางคำที่เราใช้บ่อยๆ มักจะสร้างความสับสนให้แก่ผู้เรียนอยู่เสมอ ดังนั้นทางอาศรมสยาม-จีนวิทยาได้นำเสนอภาษาจีนที่คนไทยใช้สับสนค่ะ
ที่มาของการติดตัวอักษร ‘福’ (ความสุข) ไว้ที่ประตู
ชาวจีนมักดีอกดีใจเป็นพิเศษในช่วงวันส่งท้ายปีเก่า (คืนก่อนตรุษจีน) บนบานประตูของแต่ละบ้านจะมีตัวอักษร ‘福’ (ความสุข) ติดอยู่ ความเป็นมาของประเพณีนิยมเหล่านี้มีที่มาอย่างไร?
พูดจีนให้ได้ดั่งใจ — อวดเก่ง
เคยสังเกตไหมว่า คำศัพท์ภาษาจีนบางคำที่เราใช้บ่อยๆ มักจะสร้างความสับสนให้แก่ผู้เรียนอยู่เสมอ ดังนั้นทางอาศรมสยาม-จีนวิทยาได้นำเสนอภาษาจีนที่คนไทยใช้สับสนค่ะ
Social Network