ประวัติศาสตร์ และ วัฒนธรรมจีน
บทความสาระความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมจีน
วรรณกรรมในสมัยราชวงศ์หมิง
ลักษณะของบทประพันธ์เรื่องยาวสมัยราชวงศ์หมิง แบ่งออกได้เป็น 4 ประเภทใหญ่ คือ นิยายอิงประวัติศาสตร์(讲史小说)นิยายประเภทผีสางเทวดา(神鬼小说)นิยายประเภทสะท้อนสังคม(世情小说)นิยายประเภทคดีความ(公案小说)
จี้กง : เทพเจ้าหลุดโลก
หากเอ่ยถึง ‘จี้กง’ หลายคนจะนึกถึงภาพพระภิกษุครองจีวรแบบมหายานขาดปุปะ สวมรองเท้าสานเก่าๆ หมวกผ้าขาดๆ ถือพัดที่สานจากไม้ไผ่ ปรากฏตัวในละครโทรทัศน์ที่มีเนื้อหาสนุกสนานแต่แฝงด้วยคติธรรมสอนใจ สำหรับผู้ที่นับถือศาสนาพุทธนิกายมหายานยกย่องให้จี้กงเป็นพระอรหันต์
เจียงไคเช็ค ผู้สืบสานปณิธานแห่งการปกครองแบบสาธารณรัฐ
เจียงไคเช็ค (จีนกลางออกเสียงว่า ‘เจี่ยงเจี้ยสือ’ 蒋介石 - Jiǎng Jièshí) เกิดเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม ค.ศ.1887 ช่วงปลายราชวงศ์ชิง (ราชวงศ์แมนจู) ในครอบครัวพ่อค้าเกลือฐานะดีที่เมืองหนิงปอ (宁波) มณฑลเจ้อเจียง (浙江) ในวัยเด็กศึกษาตำราจีนโบราณตามบ้าน
เซวียนไทเฮา ปรากฏการณ์หงส์เหนือมังกรครั้งแรกในประวัติศาสตร์จีน
หากกล่าวถึงการว่าราชการหลังม่านไม้ไผ่ หลายๆ คนคงนึกถึงซูสีไทเฮาแห่งราชวงศ์ชิง ทว่าแท้จริงแล้วในประวัติศาสตร์จีน เรื่องราวของสตรีที่ก้าวขึ้นมามีบทบาททางการเมืองมีมาตั้งแต่ 2,000 กว่าปีก่อนหน้านี้ โดยสตรีคนแรกที่ขึ้นสำเร็จราชการแทนประมุขอยู่ในสมัยจั้นกั๋ว พระนามว่า ‘เซวียนไทเฮา’ (宣太后)
จากศาลาพักม้าสู่ระบบไปรษณีย์
ในสมัยโบราณ กษัตริย์ของแต่ละรัฐ แต่ละราชวงศ์ ให้ความสำคัญอย่างยิ่งกับการส่งสาร เพราะอำนาจปกครองนั้นต้องแย่งชิงมาด้วยการทำสงคราม นอกจากรัฐจะต้องการกองทัพที่เก่งกาจแล้ว
เทพเจ้าแห่งโชคลาภ
เทพเจ้าแห่งโชคลาภ หรือที่คนไทยรู้จักกันในนามไฉ่สิ่งเอี๊ย (财神爷) เป็นหนึ่งในเทพเจ้าที่ชาวจีนกราบไหว้บูชามาแต่โบราณกาล เชื่อกันว่ามีอิทธิฤทธิ์ช่วยดลบันดาลเงินทอง