“การออกจากงาน” ภาษาจีนพูดว่าอย่างไร?
不是那块料/ (มีคุณสมบัติ) ไม่เหมาะกับ... / 不是省油的灯 ไม่ใช่ย่อย / (คน) เอาเรื่อง / (คน) ร้ายกาจ / 拈轻怕重 หนักไม่เอา เบาไม่สู้ / 任劳任怨 หนักเอาเบาสู้ / 管它…反正…...ก็ช่าง อย่างไรเสีย... / ...ก็ช่าง ยังไง…
อิทธิพลของเรื่องสยองขวัญและภูตผีปีศาจจีนในวัฒนธรรมญี่ปุ่น
ญี่ปุ่นเป็นชาติหนึ่งที่รับวัฒนธรรมจากจีนมาช้านาน นับตั้งแต่สมัยราชวงศ์สุย (隋 ค.ศ. 581 - 619) ของจีนเป็นอย่างน้อย วัฒนธรรมจีนได้กลายเป็นรากฐานของวัฒนธรรมญี่ปุ่นในหลายด้าน รวมถึงสิ่งซึ่งเป็นเอกลักษณ์อันโดดเด่นของญี่ปุ่นอย่างตำนานภูตผีปีศาจและสิ่งมีชีวิตพิสดาร ซึ่งวัฒนธรรมจีนก็สามารถแทรกซึมเข้าไปได้อย่างแนบเนียน ภูตผีปีศาจของจีนจำนวนหนึ่งจึงเข้าไปโลดแล่นในปกรณัมภูตผีปีศาจของญี่ปุ่นด้วย
拆东墙补西墙 ยืมจากเจ้านี้ไปใช้คืนเจ้าโน้น / หยิบยืมเพื่อเอาตัวรอดไปวันๆ / ขาดสภาพคล่องทางการเงิน / …哪能… …จะ…ได้อย่างไร… / …จะ…ได้ยังไง… / 假如…就… ถ้า…ก็… / ชี้แจงแถลงไขเกี่ยวกับ “เจียว”
不是那块料/ (มีคุณสมบัติ) ไม่เหมาะกับ... / 不是省油的灯 ไม่ใช่ย่อย / (คน) เอาเรื่อง / (คน) ร้ายกาจ / 拈轻怕重 หนักไม่เอา เบาไม่สู้ / 任劳任怨 หนักเอาเบาสู้ / 管它…反正…...ก็ช่าง อย่างไรเสีย... / ...ก็ช่าง ยังไง…
ย้อนรอยตระกูลต้วนแห่งต้าหลี่
ในยุทธจักรอันกว้างใหญ่ ซึ่งเปี่ยมด้วยบรรดาจอมยุทธ์และวิทยายุทธ์สุดพิสดารนั้น “กระบี่หกชีพจร” (六脈神劍) และ“ดรรชนีเอกสุริยัน” (一陽指) ถือว่าเป็นสองยอดกระบวนท่าของตระกูลต้วน (段氏) แห่งอาณาจักรต้าหลี่ (大理國 ค.ศ. 937 – 1094, 1096 - 1254)[1] ที่ยากจักหากระบวนท่าใดทัดเทียม
唱对台戏 ร้องงิ้วเวทีตรงข้ามกัน / (ทำตัว) เป็นปฏิปักษ์หรือคู่แข่ง/ 没戏 จบแล้ว / หมดโอกาส (หมดหวัง) / ไม่มีทาง / 打退堂鼓 ส่งสัญญาณถอย / ล้มเลิกกลางคัน / เปลี่ยนใจ / 情圣 คาสโนว่า / 摊上事儿了 (เจอ) งานเข้า / 随着… หลังจาก… / พร้อมกับ(ที่)… / ตาม…
不是那块料/ (มีคุณสมบัติ) ไม่เหมาะกับ... / 不是省油的灯 ไม่ใช่ย่อย / (คน) เอาเรื่อง / (คน) ร้ายกาจ / 拈轻怕重 หนักไม่เอา เบาไม่สู้ / 任劳任怨 หนักเอาเบาสู้ / 管它…反正…...ก็ช่าง อย่างไรเสีย... / ...ก็ช่าง ยังไง…
เล่าเรื่อง “เทศกาลกินเจ”
เทศกาลกินเจคืออะไร? เหตุใดจึงนิยมในประเทศไทย? แล้วประเทศจีนมีการกินเจหรือไม่? เชื่อว่าคำถามเหล่านี้คงจะปรากฏขึ้นในความคิดของผู้อ่านหลายท่านเมื่อถึงเทศกาลกินเจประจำทุกปี วันนี้อาศรมสยามฯ จะมาไขข้อสงสัยเหล่านี้ให้แก่ทุกท่านเอง
VIEW OUR
LATEST
RECIPES
การแบ่งกลุ่มคนเพื่อสกัดไวรัสโคโรน่าของรัฐบาลจีน แบ่งกลุ่มชาวจีนออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่
กลุ่ม A คือ บุคคลที่อยู่เมืองอู่ฮั่น ตั้งแต่ต้นเดือนธันวาคม 2562 ถึง 23 มกราคม 2563 ซึ่งเป็นช่วงเวลาแพร่ระบาดของไวรัส กลุ่มคนเหล่านี้ได้กระจายไปยังที่ต่างๆ ปัจจุบันตามหาตัวได้เป็นจำนวนมากแล้ว
กลุ่ม B คือ บุคคลที่ไม่สามารถตามหาตัวได้ เนื่องจากพวกเขาพบเจอกับบุคคลกลุ่ม A โดยบังเอิญในที่สาธารณะต่างๆ เช่น สนามบิน สถานีรถไฟ แท็กซี่ ห้องน้ำสาธารณะ ร้านอาหารห้างสรรพสินค้า ลิฟท์ ซูเปอร์มาร์เก็ต ฯลฯ
กลุ่มคนเหล่านี้มีความเสี่ยงสูงที่จะติดเชื้อไวรัส และส่วนใหญ่ไม่รู้ตัวว่าตนติดเชื้อ เนื่องจาก B กับ A ต่างคนต่างไม่รู้จักกัน จึงไม่สามารถระบุเวลาหรือสถานที่ที่ติดเชื้อไวรัส
กลุ่ม C คือ บุคคลที่กลุ่ม A เดินทางไปพบ เช่น ญาติพี่น้อง คนรัก เพื่อนฝูง เพื่อนร่วมงาน เพื่อนบ้าน เป็นต้น ปัจจุบันรัฐบาลได้ตามหาตัวจนครบแล้ว เนื่องจาก A กับ C ต่างรู้จักกัน
จำเป็นต้องกักบริเวณบุคคลกลุ่ม C ไว้ในบ้าน เพราะมีความเสี่ยงติดเชื้อสูง
กลุ่ม D คือ บุคคลที่ไม่ได้เดินทางและอยู่แต่ในบ้าน ถือว่าเป็นกลุ่มคนที่ปลอดภัย แต่หาก D เดินออกจากบ้านและพบบุคคลกลุ่มเสี่ยง (A B C) ก็อาจติดเชื้อ จนกลายเป็นผู้ติดเชื้อรุ่นใหม่
เรื่องโดย Blackrose
ความเห็นล่าสุด