อักษรจีน

อักษรซ้อนสาม (三叠字)

2025-05-22T11:11:27+07:00พฤษภาคม 22nd, 2025|

“三叠字” (Sān dié zì  ซันเตี๋ยจื้อ) หรือ “อักษรซ้อนสาม” หมายถึง อักษรที่ประกอบขึ้นด้วยตัวอักษรที่เหมือนกัน 3 ตัว เพื่อสร้างความหมายใหม่ที่เฉพาะเจาะจง

อักษร 曌 : สุริยันจันทรากลางเวหา ส่องแสงสว่างทั่วโลกหล้า

2025-05-16T15:59:21+07:00พฤษภาคม 16th, 2025|

ในช่วงเปลี่ยนผ่านจากราชวงศ์ถัง (唐 ค.ศ. 618–907) สู่การสถาปนาราชวงศ์อู่โจว (武周 ค.ศ. 690–705)    พระจักรพรรดินีนาถบูเช็กเทียน (武则天 อู่เจ๋อเทียน ค.ศ. 624–705) ได้ทรงประดิษฐ์และปรับปรุงอักษรจีนราว 18 ตัวอักษร อักษรเหล่านี้มีทั้งสร้างสรรค์ขึ้นใหม่และดัดแปลงจากตัวอักษรโบราณ โดยมีชื่อเรียกว่า “อักษรเจ๋อเทียน” (则天文字)

หลากหลายความหมายของคำว่า ‘เทียน’ (天)

2025-03-10T08:55:36+07:00กุมภาพันธ์ 29th, 2024|

สืบเนื่องจากจดหมายข่าวอาศรมสยาม-จีนวิทยา ฉบับประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ลำดับที่ 250 (เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2566) ได้นำเสนอบทความเรื่อง ‘ถอดรหัสความหมายมงคลชื่ออาหารจีน’ เนื้อหาตอนต้นของบทความมีการอ้างถึงสำนวนจีน ‘民以食为天’ ซึ่งแปลเป็นภาษาไทยไว้ว่า ราษฎรถือว่าปากท้องสำคัญเทียมฟ้า ในเวลาต่อมา อาจารย์ถาวร สิกขโกศล ผู้เชี่ยวชาญด้านจีนศึกษาได้กรุณาให้คำแนะนำเกี่ยวกับสำนวนจีนดังกล่าวว่า หมายถึง 'ราษฎรดำรงอยู่ได้ด้วยอาหาร' เพราะอักษร 天 tiān (เทียน) มีหลายความหมาย มิได้แปลว่า ‘ฟ้า’ เพียงอย่างเดียว

เหตุใดคนจีนสมัยโบราณถึงเขียนอักษรเป็นแนวตั้ง?

2021-10-07T11:45:54+07:00ตุลาคม 7th, 2021|

ปกติเราเขียนและอ่านหนังสือจากทางซ้ายไปทางขวา แต่คนจีนในสมัยโบราณจะเขียนและอ่านหนังสือจากขวาไปซ้าย มีเหตุผล 3 ประการ ได้แก่ 1. ลักษณะหนังสือของยุคโบราณ 2. วิธีการเขียนและอ่านหนังสือของคนยุคโบราณ  3. อักษรจีนในยุคแรกเริ่มมีลักษณะเป็นอักษรภาพ ซึ่งไม่ใช่การสะกดคำ

ที่มาของการติดตัวอักษร ‘福’ (ความสุข) ไว้ที่ประตู

2025-05-19T08:22:18+07:00พฤษภาคม 31st, 2021|

ชาวจีนมักดีอกดีใจเป็นพิเศษในช่วงวันส่งท้ายปีเก่า (คืนก่อนตรุษจีน) บนบานประตูของแต่ละบ้านจะมีตัวอักษร ‘福’ (ความสุข) ติดอยู่ ความเป็นมาของประเพณีนิยมเหล่านี้มีที่มาอย่างไร?

ที่มาของคําว่า “吃醋” (หึงหวง)

2025-06-02T08:54:47+07:00พฤษภาคม 14th, 2021|

มีเรื่องเล่ากันว่า จักรพรรดิถังไท่จง (唐太宗 ค.ศ. 598-649) แห่งราชวงศ์ถัง (唐 ค.ศ. 618-907) มีรับสั่งให้ปูนบําเหน็จแก้วแหวนเงินทอง พร้อมกับอิสตรีจํานวนหนึ่งเป็นรางวัลแก่ฝางเสวียนหลิง (房玄龄 ค.ศ. 579-648)

เรื่องของอักษร 嫁 กับ 娶

2020-12-02T16:36:12+07:00ธันวาคม 2nd, 2020|

อักษร 嫁 กับ 娶 ต่างมีส่วนประกอบที่เหมือนกัน คือ  女 (nǚ สตรี ผู้หญิง) คำว่า 嫁 (jià) หมายถึง ผู้หญิงแต่งงานเข้าบ้านผู้ชาย ส่วน 娶 (qǔ) หมายถึงผู้ชายแต่งงานรับผู้หญิงเข้าบ้าน

เรื่องของอักษร 婚 กับ 昏

2020-11-18T10:17:56+07:00พฤศจิกายน 18th, 2020|

อักษร 婚 (hūn แต่งงาน) ประกอบไปด้วยอักษร 2 ส่วน ส่วนซ้าย 女 (nǚ ผู้หญิง) ระบุความหมายว่าเกี่ยวกับผู้หญิง และส่วนขวา 昏

วิวัฒนาการของตัวอักษร 饮

2020-11-05T14:40:45+07:00พฤศจิกายน 5th, 2020|

饮 yǐn หมายถึง ดื่ม ใช้เป็นทั้งคำกริยาและคำนาม เมื่อใช้เป็นคำกริยา เช่น 饮水 (yǐn shuǐ ดื่มน้ำ) 饮茶  (yǐn chá ดื่มชา)

วิวัฒนาการของตัวอักษร 鼠

2020-10-19T11:04:55+07:00ตุลาคม 19th, 2020|

อักษร 鼠 สามารถบ่งบอกและยืนยันว่า ‘หนู’ เป็นสัตว์ที่อยู่คู่สังคมมนุษย์มาช้านาน เพราะว่าชาวจีนประดิษฐ์อักษร 鼠 (shǔ หนู) ขึ้นตั้งแต่หลายพันปีที่แล้ว

Go to Top