ปัญญาจากจีน : ชิงดีชิงเด่น 高下之争
แปลและเรียบเรียงจากนิทานเรื่อง “ชิงดีชิงเด่น” จากหนังสือจุ้ยเวิงถันลู่ (醉翁談錄บันทึกวาทะเฒ่าขี้เมา) ประพันธ์โดยจินอิ๋งจือ (金盈之) มีชีวิตอยู่ประมาณปลายราชวงศ์ซ่งเหนือ ราวๆ ค.ศ. 1126
แปลและเรียบเรียงจากนิทานเรื่อง “ชิงดีชิงเด่น” จากหนังสือจุ้ยเวิงถันลู่ (醉翁談錄บันทึกวาทะเฒ่าขี้เมา) ประพันธ์โดยจินอิ๋งจือ (金盈之) มีชีวิตอยู่ประมาณปลายราชวงศ์ซ่งเหนือ ราวๆ ค.ศ. 1126
แปลและเรียบเรียงจากหนังสือนิทานพื้นบ้าน "ซัวย่วน"(說苑) ประพันธ์โดย หลิวเซี่ยง (劉向77 -6 ปีก่อนคริสตศักราช) บัณฑิตในราชวงศ์ฮั่นตะวันตก (西漢202 ปีก่อนคริสตศักราช–ค.ศ.8)
แปลและเรียบเรียงจากนิทานเรื่อง “นกออกขู่นกหงส์” ในคัมภีร์ “จวงจื๊อ บทที่ 17” (莊子.秋水篇) ซึ่งจวงจื๊อ (莊子 ประมาณ 369-286 ปีก่อนคริสตกาล)
-----เมื่อเร็วๆ นี้ บริษัท ซีพี ออลล์ฯ ของเรา ได้ทดลองโครงการ“ศูนย์อพยพ” ซึ่งเป็นโครงการสำหรับช่วยค้นหาศักยภาพในตัวของพนักงาน เนื่องจากพนักงานบางคนอาจทำงานในหน้าที่หรือสายงานที่ตนไม่ถนัด ทำให้ทำงานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ จึงขอให้ผู้บังคับบัญชาแต่ละหน่วยงาน เป็นคนส่งรายชื่อพนักงานในหน่วยที่เห็นควรส่งเข้า“ศูนย์อพยพ” นี้ โดยมีข้อแม้ว่าผู้บังคับบัญชาต้องไปคุยกับตัวพนักงานเองก่อนที่จะส่งรายชื่อครั้งแรกที่ประกาศโครงการ
----- หลายคนคงยังสงสัยและตั้งคำถามในใจว่าการวิเคราะห์ด้วยลายนิ้วมือ จะเหมือนกับหมอดูลายมือหรือเปล่า ลายนิ้วมือหรือลายผิวที่นูนขึ้นมาบนฝ่ามือและฝ่าเท้าของคนเรานั้นมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า“Dermatoglyphics” เป็นศาสตร์ที่ผ่านการค้นคว้าทางการแพทย์มากว่าร้อยปีแล้ว แม้แต่หน่วยงาน Federal Bureau of Investigation (FBI)ในสหรัฐอเมริกาก็ยังมีการศึกษาลายนิ้วกับแนวโน้มพฤติกรรมในอาชญากร จึงต่างจากวิชาโหราศาสตร์อย่างสิ้นเชิงก่อนที่ ซีพี ออลล์
----- ปลายปี พ.ศ.2550 ช่วงระหว่างการแข่งขันหมากล้อมอุดมศึกษา และเอเชี่ยนโกะทัวร์นาเม้นท์ที่จังหวัดขอนแก่น อาจารย์หมากล้อมชาวไต้หวันได้แนะนำให้ผมรู้จักกับสุภาพสตรีสองท่าน โดยสุภาพสตรีทั้งสองมาขออนุญาตเก็บตัวอย่างลายนิ้วมือของนักหมากล้อมเยาวชนทั้งหมดที่เข้าร่วมการแข่งขัน นัยว่าต้องการเก็บตัวอย่างศึกษาหาลักษณะร่วมของลายนิ้วมือนักหมากล้อม ด้วยความเคลือบแคลงสงสัย ผมจึงได้ขอให้ทดลองกับตัวผมเองก่อนขั้นตอนการเก็บตัวอย่างก็ไม่ยาก เพียงแค่สแกนลายนิ้วมือทั้งสิบนิ้ว และพิมพ์ลายฝ่ามือ ส่งข้อมูลเข้าคอมพิวเตอร์ตีพิมพ์ออกมาเป็นรายงานเหมือนโปรแกรมทั่ว
สตรีนางหนึ่งซึ่งนับว่ามีความสำคัญต่อประวัติศาสตร์จีนอย่างมากก็คือ ฟู่ห่าว (妇好 ปีเกิดไม่ชัดเจน-1200 ปีก่อนคริสต์ศักราช) วีรสตรีแห่งราชวงศ์ซาง (商 1600-1046 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
ความจริงที่ไม่อาจปฏิเสธได้คือ ทัศนคติเกี่ยวกับ ‘พรหมจรรย์’ ถูกสร้างขึ้นและปลูกฝังให้อยู่คู่กับสังคมจีนมาช้านาน ผู้หญิงยุคโบราณจำนวนไม่น้อยต่างพากันครองพรหมจรรย์เพื่อรักษาตัวให้มีคุณค่าตามค่านิยม ด้วยเหตุผลสำคัญประการเดียวคือ เพื่อให้ได้รับการยอมรับจากสังคม
หลังจากจีนพ่ายแพ้ญี่ปุ่นในสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง (甲午戰爭) เมื่อ ค.ศ. 1895 ญี่ปุ่นได้บังคับยึดครองเกาะไต้หวันซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองของจีน พร้อมกับใช้เกาะไต้หวันเป็นแหล่งทรัพยากรและปราการด่านแรกทางทิศใต้ของประเทศ
เพศหญิงเป็นเพศที่มีข้อจำกัดต่างๆ ในการดำรงชีวิตมากกว่าเพศชาย โดยเฉพาะสตรีจีนสมัยโบราณ คำถามที่ฟังดูธรรมดาในปัจจุบันเมื่อได้คำตอบจากเรื่องราวในอดีตอาจทำให้ผู้คนสมัยนี้นึกไม่ถึงเลยก็ได้